





นั่นคือ สามารถหา




คือ เซตที่มีสมาชิกเป็นคู่อันดับจากการสลับตำแหน่งองค์ประกอบตัวหน้ากับตัวหลังของแต่ละคู่อันดับในความสัมพันธ์นั้น ใช้
แทนตัวผกผันตัวสัมพันธ์ r นั่นคือ


เช่น กำหนด

และ


ดังนั้น

ข้อสังเกต ในบางครั้งโจทย์กำหนด r แบบบอกเงื่อนไข อาจจะไม่เขียน r แบบแจกแจงสมาชิกได้หมด ทำให้ไม่สามารถสลับตำแหน่งภายในคู่อันดับมาเขียน
ได้จึงต้องปลี่ยนเงื่อนไข ซึ่งมีที่มา ดังนี้

จาก
(สลับเอา y ไว้หน้า x )


แต่ไม่นิยมเขียน (y,x) นิยมเขียน (x,y) จึงเปลี่ยน x เป็น y และ เปลี่ยน y เป็น x ดังนี้

แต่ยังยังไม่นิยมเนื่องจากเงื่อนไขยังเป็น xในรูป y จึงเขียนใหม่เป็น

แต่ยังยังไม่นิยมเนื่องจากเงื่อนไขยังเป็น xในรูป y จึงเขียนใหม่เป็น

สรุป : วิธีทำดังนี้
1.เปลี่ยน x เป็น yและเปลี่ยน y เป็น x ด้วยพร้อมกัน
2.เขียน y ตัวใหม่ (จากข้อ1) อยู่โดด จะได้ y ในรูปของ x โดย y ตัวใหม่นี้ =
1.เปลี่ยน x เป็น yและเปลี่ยน y เป็น x ด้วยพร้อมกัน
2.เขียน y ตัวใหม่ (จากข้อ1) อยู่โดด จะได้ y ในรูปของ x โดย y ตัวใหม่นี้ =


เขียนตามเงื่อนไขระหว่าง x กับ y โดย x,y Î r กราฟที่ได้อาจเป็นเส้นตรงหรือเส้นโค้งขึ้นกับเงื่อนไขที่โจทย์ให้

r = {(x,y)| y = 2x+1} ให้กราฟเส้นตรง ดังนี้

บางครั้งโจทย์อาจให้เขียนกราฟของ r กับ
บนแกนเดียวกัน เวลาเขียนกราฟของ
ไม่ต้องหา
จาก r ก่อน ให้เขียนการของ r แล้วให้เส้นตรง y = x เป็น กระจกสะท้อนภาพของ
(mirror of image) ซึ่ง r กับ 





สมมาตรกันตามเส้นตรง y = x

จาก r ที่กำหนดข้างต้น ให้เขียน
บนแกนเดียวกัน จะได้กราฟ ดังนี้



จงเขียน r และ
บนแกนเดียวกัน กำหนด 



บางครั้งโจทย์อาจกำหนดเงื่อนไขของ x กับ y ในรูปอสมการ

r = {(x,y)|y> 2x+1}

(ใช้เส้นประเพราะ
)

เส้น y = 2x+1 แบ่งเนื้อที่ทั้งหมดเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ y > 2x+1 กับ y < 2x+1 จะเห็นว่าบนเส้น y = 2x+1 ค่า y = 2x+1 พอดี ถ้า y > 2x+1 ต้องอยู่เหนือเส้น นั่นคือบริเวณเหนือเส้น y = 2x+1 คือจุดซึ่งค่า y ที่มากกว่า 2x+1 ดังนั้น จึงได้แรเงาเนื้อที่นั้น
ข้อสังเกต อย่าจำว่า “>” แรเงาเหนือเส้น
“<” แรเงาใต้เส้น
เพราะบางครั้งโจทย์อาจเขียน x < 2y+1 ถ้าจะแรเงาต้องอ่าน
จาก อย่างนี้ระบายเหนือเส้นแม้ว่าโจทย์เดิมเป็น < ก็ตามต้องอ่านจาก y ขณะเป็นบวก
“<” แรเงาใต้เส้น
เพราะบางครั้งโจทย์อาจเขียน x < 2y+1 ถ้าจะแรเงาต้องอ่าน

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น